“บุหรี่” เสี่ยง “มะเร็งปอด-โรคหัวใจ” และยังอันตรายต่อคนรอบข้าง
31 พฤษภาคม วันงดสูบบุหรี่โลก เรียนรู้อันตรายของบุหรี่ เพื่อเลิกทำร้ายตัวเอง และคนที่คุณรัก
31 พฤษภาคม วันงดสูบบุหรี่โลก เรียนรู้อันตรายของบุหรี่ เพื่อเลิกทำร้ายตัวเอง และคนที่คุณรัก
โรคติดบุหรี่ หรือ พฤติกรรมการติดบุหรี่ เสี่ยงโรคร้ายอันตรายทั้งกับตัวเอง และคนรอบข้างที่คุณรัก มาดูวิธีเลิกบุหรี่ที่แนะนำโดยแพทย์กัน
ข่าวดีสำหรับสิงห์อมควันที่อยากเลิกบุหรี่ เมื่อนักวิจัยไทยสามารถวิจัยและผลิต “ยาเม็ดเลิกบุหรี่” ใช้เองในประเทศได้เป็นผลสำเร็จครั้งแรก โดยเป็นการดำเนินการศึกษาวิจัยของหลายหน่วยงาน
เคลียร์ๆ กันไปเลย! บุหรี่ไฟฟ้า อันตรายจริงหรือไม่ คนที่อยากเลิกสูบยังควรใช้เป็นตัวเลือกต่อไปหรือไม่
อย่างที่รู้กัน การสูบบุหรี่ไม่ได้ส่งผลดีต่อสุขภาพ ไม่ว่าจะในระยะยาวหรือสั้น เนื่องจากบุหรี่มีสารนิโคตินและสารเคมีอื่นๆ รวมกันมากกว่า 4,000 ชนิด ดังนั้นจึงก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่างๆ ในร่างกาย
เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และเลิกสูบบุหรี่ จะช่วยลดคอเลสเตอรอลให้กลับมาเป็นปกติได้
ถ้าไม่อยากเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีอาการผิดปกติต่อร่างกาย หยุดพฤติกรรมเหล่านี้หลังทานข้าวดีกว่า
หลังจากทานอาหารในแต่มื้อเสร็จ มีพฤติกรรมอะไรบ้างนะที่ไม่ควรทำ
คำนวณกันง่ายๆ นับกันมวนต่อมวน ตอบให้ได้เลยว่าคุณกำลังเสี่ยงโรคอยู่หรือไม่
วันงดสูบบุหรี่โลก 31 พฤษภาคม ทีมงานแนะนำ 10 วิธีเลิกบุหรี่ด้วยตัวเอง ง่ายๆ แบบนี้ใครๆ ก็ทำได้ รับรองไม่ยาก ทำตามนี้เลย
ในประเทศไทยพบว่าปัญหาการใช้บุหรี่ไฟฟ้านับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แม้จะมีประกาศกระทรวงพาณิชย์ห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้าเข้ามาในประเทศไทย
สำหรับคุณผู้ชายที่สูบบุหรี่ ย่อมไม่สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาริมฝีปากดำคล้ำได้ ซึ่งมีน้อยมากที่สูบบุหรี่แล้วไม่ทำให้ริมฝีปากดำคล้ำ
วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปีเป็นวันงดสูบบุหรี่โลก ( World No Tobacco Day) วันงดสูบบุหรี่โลกครั้งแรก ใช้คำขวัญ “บุหรี่หรือสุขภาพต้องเลือกสุขภาพ”
คอเลสเตอรอล HDL เป็นคอเลสเตอรอลชนิดดีที่เราควรมีใ่นร่างกาย เพราะช่วยในการป้องกันโรคหัวใจ
“อย่าสูบบุหรี่เลย เดี๋ยวเป็นมะเร็งปอดไม่รู้ด้วย” นี่เป็นคำพูดของเราเมื่อเห็นเพื่อนรักสูบบุหรี่ เพื่อนมองเราพร้อมทำหน้าเจื่อนๆ แต่ก็ไม่ได้หยุดสูบแต่อย่างใด แม้ว่าเราจะห้ามเพื่อนไม่สำเร็จ แต่เราคิดว่าเราทำหน้าที่เพื่อนที่ดีเรียบร้อยแล้ว ที่เหลือก็ขึ้นอยู่กับชีวิตของเขาแล้วล่ะ
ผู้ชายส่วนใหญ่ไม่ค่อยจะใส่ใจสุขภาพตัวเองมากนัก แถมยังชอบดื่มสังสรรค์ ทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงโรคต่างๆ ได้ง่าย วันนี้เราจึงได้รวบรวม 6 ปัญหาสุขภาพที่มักจะพบได้บ่อยในเพศชายมาฝาก
แม้ว่าจะไม่ได้พบผู้ป่วยมะเร็งปอดมากที่สุด แต่พบอัตราเสียชีวิตมากที่สุด มะเร็งปอด ถือเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อย จากสถิติทั่วโลกล่าสุดพบว่าทุกปีมีคนได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งปอดปีละ 1.8 ล้านคน
โรคมะเร็งปอดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของคนทั่วโลก แต่ยังมีความเชื่อเกี่ยวกับมะเร็งปอดหลายข้อที่เรามักเข้าใจผิด
แม้ว่าโรคมะเร็งจะอันตรายถึงชีวิต แต่หากเป็นมะเร็งปอด ตรวจเจอก่อน ก็รักษาได้ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด
โรคกรดไหลย้อน คือ โรคที่มีอาการซึ่งเกิดจากการไหลย้อนกลับของกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารขึ้นไปในหลอดอาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน หรือแม้แต่ผู้ป่วยไม่ได้รับประทานอาหารก็ตาม แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ...
ฟันธงโดย ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลังกินอาหารเสร็จ ควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้
การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ หรือการติดนิสัยเคี้ยวหมากพลู ก็อาจก่อให้เกิดมะเร็งศีรษะ และลำคอได้ แต่ปัจจุบันมีวิธีรักษาที่ให้ผลดีอยู่ด้วย
บุหรี่ก็ว่าอันตรายแล้ว แต่ก็ยังมีพฤติกรรมและปัจจัยบางอย่างที่อันตรายต่อร่างกายไม่แพ้บุหรี่เหมือนกัน
นอกจากการดื่มนมไม่เพียงพอแล้วนั้น ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกที่ทำให้เกิดภาวะขาดแคลเซียม
ปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดสมองโป่งพองมีได้หลายสาเหตุ เช่น อายุ 40 ปีขึ้นไป เพศหญิง ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ มีไขมันในเลือดสูง ดื่มแอลกอฮอล์ มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง
การไอแต่ละชนิดมีสาเหตุจากอะไร มีวิธีการรักษาและป้องกันอย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้
ภาวะสมองฝ่อ (Cerebral atrophy หรือ Brain atrophy) หมายถึง ภาวะสูญเสียเซลล์สมองและการเชื่อมกันของเซลล์สมอง อาจเกิดทั่วทุกบริเวณของสมอง หรือแค่เฉพาะบางส่วนก็ได้
นอกจากลิ้นจะช่วยรับรสอร่อยเมื่อเราทานอาหารแล้ว ยังบอกโรคได้อีกด้วย
มาดูกันว่ามีสาเหตุใดที่ตรงกับพฤติกรรมของสาวๆ กันบ้างหรือเปล่า