แท็ก "หลอดเลือด"

แบบทดสอบ คุณเสี่ยง "โรคหัวใจ-หลอดเลือด" มากแค่ไหน

รู้จัก Thai CV Risk Score แบบทดสอบความเสี่ยงโรคหัวใจ-หลอดเลือดด้วยตัวเอง มาคิดเป็นคะแนนที่สามารถแปลผลเป็นตัวเลขความเสี่ยงสำหรับการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต

ฝุ่น PM 2.5 เป็นอันตรายต่อ "หัวใจ-หลอดเลือด" อย่างที่คุณคาดไม่ถึง

ฝุ่น PM 2.5 นอกจากจะเข้าไปส่งผลกระทบต่อการทำงานในระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง ดวงตา และส่วนอื่นๆ แล้ว หัวใจและหลอดเลือดก็เป็นอีกส่วนที่ได้รับผลเสียจากฝุ่นนี้เช่นกัน

วิธีลดไขมันไตรกลีเซอไรด์ และคอเลสเตอรอลตามคำแนะนำนักกำหนดอาหารชาวญี่ปุ่น

เมื่ออายุเพิ่มขึ้น ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์และคอเลสเตอรอลในเลือดก็อาจจะเพิ่มสูงขึ้นจนบางครั้งก็สูงเกินกว่าระดับมาตรฐานไปมาก

พิษโลหะหนัก กำจัดได้เร็ว ลดเสี่ยงหลายโรค (ตอน 1)

หลายคนเข้าใจว่าผู้ที่ทำงานในโรงงาน หรือผู้ที่ต้องอยู่กับสารเคมีเท่านั้น ถึงจะได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย แต่จริงๆ แล้ว ทุกวันนี้เราอยู่ใกล้กับโลหะหนักในทุกๆ วัน

กล้ามเนื้อคอตึง ปวดหัวไมเกรน รักษาได้อย่างไร

อาการปวดศีรษะไมเกรนควรได้รับการวินิจฉัยแยกจากโรคปวดศีรษะที่มีสาเหตุร้ายแรง เช่น ภาวะสมองขาดเลือดหรือเลือดออก ออกไปก่อน แล้วจึงวางแผนการรักษา ซึ่งจะขึ้นอยู่กับความถี่และความรุนแรงของอาการปวด

14 โรคต้องระวัง เมื่อต้องบินข้ามทวีป

การเดินทางโดยเครื่องบินเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ปัญหาเรื่องความเจ็บป่วยของผู้โดยสารก็เพิ่มจำนวนมากขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะเมื่อต้องบินระยะไกลข้ามทวีป โดยเฉพาะโรคหัวใจ

8 สิ่งต้องรู้เกี่ยวกับ PM 2.5 ทำไมฝุ่นจิ๋วถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพเกินกว่าจะคาดถึง

ดูเหมือนปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 จะวนกลับมาสร้างผลกระทบต่อสุขภาพชาวไทยซ้ำๆ ในทุกปีและดูเหมือนจะกลายเป็นความปกติที่แก้ไม่ตกไปเสียแล้ว

"ไขมันทรานส์" คืออะไร? มีในอาหารใด? อันตรายอย่างไร?

ไขมันทรานส์มีอยู่ในอาหารมากมายที่หลายคนอาจไม่รู้ว่าตัวเองกำลังทานอยู่ทุกวัน อาหาร หรือส่วนประกอบของอาหารที่มีไขมันทรานส์ ได้แก่ เนยขาว มาร์การีน ครีมเทียม ครีมเทียมข้นหวาน

ลบมายาคติ ‘งานหนักไม่เคยฆ่าใคร’ WHO เผยสถิติ 7.4 แสนคน จบชีวิตเพราะเวิร์กฮาร์ด

จริงหรือ 'งานหนักไม่เคยฆ่าใคร' ทั่วโลก 7 แสนคน จบชีวิตเพราะเวิร์กฮาร์ด แนะเช็กสัญญาณก่อนสายเกินไป นับเป็นข่าวเศร้า ที่กระตุกให้ทุกคนหันมาสนใจคุณภาพชีวิตของคนทำงานมากขึ้น หลังจากที่เพจ จอดับ ได้โพสต์เ...

หลอดเลือดสมองโป่งพอง อันตรายที่ไม่มีสัญญาณเตือน (Brain Aneurysm)

ปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดสมองโป่งพองมีได้หลายสาเหตุ เช่น อายุ 40 ปีขึ้นไป เพศหญิง ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ มีไขมันในเลือดสูง ดื่มแอลกอฮอล์ มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง