แท็ก "ผู้ป่วย"

เข้าใจ โรคแพนิค (Panic Disorder) สาเหตุเกิดจากอะไร และ ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค

“แพนิคไปเองหรือเปล่า?” “คิดไปเอง สงบสติอารมณ์บ้างสิ” คำพูดติดปากของใครหลาย ๆ คน ที่มักจะพูดถึงเวลาที่รู้สึกว่าคนรอบข้างมีอาการหวาดกลัว กังวล หรือแสดงอาการตื่นตระหนกให้เห็น แต่คุณรู้ไหมว่า คำว่าแพนิคนั้น แท้จริงแล้ว คืออะไรกันแน่ ?

นวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคหัวใจ TAVI ซ่อมลิ้นหัวใจผ่านสายสวนโดยไม่ต้องผ่าตัด

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเต็มรูปแบบแล้ว ทำให้มีการตรวจพบโรคที่เกี่ยวข้องกับความเสื่อมตามวัย

อาการของคนที่ติดเชื้อโรค “พิษสุนัขบ้า”

อาการของคนที่ติดเชื้อโรค พิษสุนัขบ้า ระยะแรก ผู้ป่วยอาจมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ เบื่ออาหาร จากนั้นอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนในบริเวณที่โดนสัตว์เลี้ยงกัด ไม่ใช่การเห่าหอนเหมือนสุนัขแน่นอน

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika) คืออะไร? ป้องกันอย่างไร?

ไวรัสซิกา เป็นหนึ่งในไวรัสที่สามารถส่งผลกระทบร้ายแรงต่อมนุษย์ โดยมียุง เป็นพาหะสำคัญในการแพร่เชื้อ และเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข

โรคน้ำกัดเท้า-โรคน้ำกัดเล็บ คืออะไร มีอาการอย่างไร รักษาได้ไหม

โรคที่พบบ่อยทุกครั้งที่น้ำท่วม คงหนีไม่พ้น "โรคน้ำกัดเท้า" และ "โรคน้ำกัดเล็บ" จึงควรทราบวิธีลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเหล่านี้ เพื่อเป็นเคล็ดลับในการป้องกันเมื่อมือและเท้าต้องสัมผัสน้ำ เป็นระยะเวลายาวนาน

รู้จักโรคไข้หูดับ อาการของโรค พร้อมแนะวิธีป้องกัน

โรคไข้หูดับ อาจทำให้หูหนวกถาวรหรือเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง พร้อมแนะวิธีป้องกัน โดยรับประทานอาหารที่ปรุงสุก ไม่ใช้เขียงของดิบและของสุกร่วมกัน ไม่สัมผัสเนื้อหมูและเลือดดิบด้วยมือเปล่า

อาการ “บาดเจ็บข้อเท้า” สาเหตุ และวิธีรักษา

อาการบาดเจ็บข้อเท้า ทั้งสาเหตุและวิธีการรักษา ปัญหาที่พบบ่อยเกี่ยวกับเท้าและข้อเท้า หนึ่งอวัยวะสำคัญให้มนุษย์เราสามารถก้าวเดิน ยืน วิ่งอย่างมั่นคงได้

เข้าใจ โรคแพนิค สาเหตุเกิดจากอะไร และ ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค

“แพนิคไปเองหรือเปล่า?” “คิดไปเอง สงบสติอารมณ์บ้างสิ” คำพูดติดปากของใครหลาย ๆ คน ที่มักจะพูดถึงเวลาที่รู้สึกว่าคนรอบข้างมีอาการหวาดกลัว กังวล

เครื่อง AED อุปกรณ์ช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่ควรมีในทุกพื้นที่สาธารณะ

“โรคหัวใจ” มีด้วยกันหลายชนิด โดยอาการของโรคหัวใจแต่ละชนิดก็จะแตกต่างกันไป สถิติสาธารณสุขของประเทศไทยปี 2564 พบว่าโรคหัวใจขาดเลือด เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทยมากที่สุดเป็นอันดับ 4 รองจากโรคมะเร็ง

ความรู้เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะและการปลูกถ่ายอวัยวะ

ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การบริจาคร่างกาย ≠ การบริจาคอวัยวะ เนื่องจากการบริจาคร่างกาย คือการอุทิศร่างกายทั้งร่างเพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้ใช้ศึกษาเพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาชีวิตของผู้อื่นตามวิชาชีพแพทย์